แผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำท่วม พ.ศ. 2566 ลุ่มน้ำชี

แผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำท่วม พ.ศ. 2566 ลุ่มน้ำชี

สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ

Book 1 of แผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำท่วม พ.ศ. 2566 ลุ่มน้ำชี

Language: Thai

Published: Jan 1, 2023

Description:

ลุ่มน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือมีแม่น้ำที่สำคัญหลายสาย เช่น แม่น้ำเลย แม่น้ำโมง แม่น้ำสวย ห้วยหลวง แม่น้ำสงคราม และห้วยน้ำก่ำ อ่างเก็บน้ำที่สำคัญ ได้แก่ เขื่อนน้ำอูน อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ความจุ 520 ล้านลูกบาศก์เมตร และเขื่อนห้วยหลวง อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ความจุ 135.57 ล้านลูกบาศก์เมตร สภาพภูมิประเทศของลุ่มน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือ  รูปตัดตามยาวแม่น้ำสงครามตัวแทนความลาดชันลุ่มน้ำโขงตะวันออกเฉียงเหนือ การเกิดอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำชีเกิดจากปริมาณฝนตกหนักหลายพื้นที่ ทำให้เกิดน้ำไหลหลากและลุ่มน้ำไม่สามารถรองรับปริมาณน้ำและระบายน้ำไต้ทัน จึงทำให้เกิดน้ำท่วมขังหลายพื้นที่ปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำและอีกปัญหาหนึ่ง เนื่องจากสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีความลาดชันของพื้นที่ และความลาดชันของลำน้ำค่อนข้างต่ำ จึงระบายน้ำได้ช้ามีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป รวมทั้งเกิดจากฝนตกหนัก ณ จุดนั้นๆ ติดต่อกันเป็นเวลาหลายวัน หรือเกิดจากสภาวะน้ำลันตสิ่ง อันเนื่องมาจากน้ำจากพื้นที่ตันน้ำซึ่งมีความลาดชันมากกว่า มีการระบายน้ำได้ดีกว่าเมื่อมาถึงพื้นที่รายที่มีการระบายได้ช้าก็จะเกิดการสะสม และลันตสิ่งได้ ทั้งนี้ชุมชนขนาดใหญ่ ตัวเมืองหรือพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญส่วนมา มากในพื้นที่ศึกษา ตั้งอยู่ในบริเวณที่มีความเสี่ยงในการเกิดปัญหาน้ำท่วมขังลักษณะนี้โดยที่บริเวณพื้นที่ ที่ประสบปัญหาเป็นประจำ ได้แก่ อ.เมืองกาฬสินธุ์ อ.กมลาไสย อ.องชัย จ.กาฬสินธุ์อ.โคกโพธิ์ไชย อ.ชนบท อ.พระยืน อ.บ้านแฮด อ.มัญจาคีรี อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น อ.เมืองชัยภูมิ อ.หนองบัวระเหว อ.คอนสวรรค์ .บ้านแท่น จ.ชัยภูมิ อ.โกสุมพิสัย อ.เชียงยืน อ.กันทรวิชัย อ.เมืองมหาสารคาม จ.มหาสารคาม อ.เสลภูมิ อ.สุรรณภูมิ อ.เชียงขวัญ อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด อ.เมืองหนองบัวลำภู อ.สุวรรณคูหา จ.หนองบัวลำภู เป็นต้น