สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
Book 1 of รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการทบทวนแผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้ง ลุ่มน้ำปิง
Language: Thai
22 ลุ่มน้ำ น้ำแล้ง รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการทบทวนแผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้ง ลุ่มน้ำปิง แผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้งลุ่มน้ำปิง แม่น้ำปิง
Publisher: คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Published: Sep 1, 2023
ลุ่มน้ำปิงได้ประสบกับปัญหาการบริหารทรัพยากรน้ำในหลายมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่เกิดจากภาวะภัยแล้ง โดยลุ่มน้ำปิงมีพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งซ้ำซากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่วิกฤติ (Area Based) ประมาณ 733,600 ไร่ ส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้ำกว่า 84,300 ครัวเรือน ขาดแคลนน้ำด้านการเกษตรในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งกว่า 446 ล้าน ลบ.ม. นอกจากนี้ยังมีพื้นที่บางส่วนที่เสี่ยงประสบปัญหาทั้งภัยแล้ง และน้ำท่วมประมาณ 38,700 ไร่ (สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ โดยพื้นที่ลุ่มน้ำปิงตอนบนเช่นตัวเมืองเชียงใหม่ซึ่งเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่สำคัญยังประสบปัญหาด้านคุณภาพน้ำ โดยเฉพาะน้ำเน่าเสียในคลองแม่ข่าที่เกิดขึ้นมาอย่างยาวนานซึ่งยังขาดการบริหารจัดการอย่างบูรณาการณ์ของผู้เกี่ยวข้อง นอกจากนี้พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดลำพูนยังประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำ เนื่องจากยังขาดแหล่งกักเก็บน้ำสำรองจากฤดูฝนเป็นต้น ส่วนพื้นที่ลุ่มน้ำปีงตอนล่างประสบปัญหาภัยแล้งและน้ำท่วมซ้ำซากเป็นวงกว้างในจังหวัด ตาก และกำแพงเพชร สาเหตุหลักมาจากการขาดแคลนแหล่งกักเก็บน้ำสำรองจากฤดูฝน ดังนั้นการบริการจัดการความเสี่ยงทั้ง ก่อนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิดภาวะน้ำแล้ง จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งเพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้อย่างทันท่วงที และลดความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อประชาชนในพื้นที่ให้น้อยที่สุด
Description:
ลุ่มน้ำปิงได้ประสบกับปัญหาการบริหารทรัพยากรน้ำในหลายมิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่เกิดจากภาวะภัยแล้ง โดยลุ่มน้ำปิงมีพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งซ้ำซากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่วิกฤติ (Area Based)
ประมาณ 733,600 ไร่ ส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้ำกว่า 84,300 ครัวเรือน ขาดแคลนน้ำด้านการเกษตรในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งกว่า 446 ล้าน ลบ.ม. นอกจากนี้ยังมีพื้นที่บางส่วนที่เสี่ยงประสบปัญหาทั้งภัยแล้ง และน้ำท่วมประมาณ 38,700 ไร่ (สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ โดยพื้นที่ลุ่มน้ำปิงตอนบนเช่นตัวเมืองเชียงใหม่ซึ่งเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่สำคัญยังประสบปัญหาด้านคุณภาพน้ำ โดยเฉพาะน้ำเน่าเสียในคลองแม่ข่าที่เกิดขึ้นมาอย่างยาวนานซึ่งยังขาดการบริหารจัดการอย่างบูรณาการณ์ของผู้เกี่ยวข้อง นอกจากนี้พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดลำพูนยังประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำ เนื่องจากยังขาดแหล่งกักเก็บน้ำสำรองจากฤดูฝนเป็นต้น ส่วนพื้นที่ลุ่มน้ำปีงตอนล่างประสบปัญหาภัยแล้งและน้ำท่วมซ้ำซากเป็นวงกว้างในจังหวัด ตาก และกำแพงเพชร สาเหตุหลักมาจากการขาดแคลนแหล่งกักเก็บน้ำสำรองจากฤดูฝน ดังนั้นการบริการจัดการความเสี่ยงทั้ง ก่อนเกิด ขณะเกิด และหลังเกิดภาวะน้ำแล้ง จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งเพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้อย่างทันท่วงที และลดความเสียหายที่เกิดขึ้นต่อประชาชนในพื้นที่ให้น้อยที่สุด