สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ
Book 1 of โครงการทบทวนแผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้งและแผนป้องกันภาวะน้ำท่วมลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก (แผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำท่วม)
Language: Thai
22 ลุ่มน้ำ ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก แผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำท่วม โครงการทบทวนแผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำแล้งและแผนป้องกันภาวะน้ำท่วมลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก (แผนป้องกันและแก้ไขภาวะน้ำท่วม)
Publisher: คณะกรรมการลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตก สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติภาค 4
Published: Jan 1, 2023
สภาพอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตกลักษณะการเกิดน้ำท่วม จำแนกได้ 2 ลักษณะ1) น้ำท่วมในลักษณะน้ำป่าไหลหลาก ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมและแผ่นดินถล่ม มักพบบริเวณพื้นที่ต้นน้ำมีความลาดชันค่อนข้างสูงโดยบริเวณที่มีความเสี่ยงเกิดบ่อยและมีความรุนแรง ได้แก่ ตอนบนของลุ่มน้ำแม่น้ำกระบุรี ลุ่มน้ำคลองละอุ่น ในจังหวัดระนอง ลุ่มน้ำคลองตะกั่วป่า และลุ่มน้ำย่อยในจังหวัดพังงา2) น้ำท่วมขัง มักเกิดบริเวณที่ราบมีความลาดชันน้อย มีพื้นที่ลุ่มน้ำขนาดใหญ่ที่มีที่ราบก่อนไหลออกทะเล และได้รับอิทธิพลจากน้ำทะเลหนุน ได้แก่ ลุ่มน้ำแม่น้ำตรังตั้งแต่ตอนบนในเขตอำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช อำเภอห้วยยอด อำเภอเมือง จังหวัดตรัง ลุ่มน้ำคลองปะเหลียน ในจังหวัดตรัง ลุ่มน้ำคลองมำบัง ในจังหวัดสตูล และอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา รวมทั้งพื้นที่ศึกษาอยู่ในเส้นทางที่พายุพัดผ่านอีกด้วย
Description:
สภาพอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำภาคใต้ฝั่งตะวันตกลักษณะการเกิดน้ำท่วม จำแนกได้ 2 ลักษณะ
1) น้ำท่วมในลักษณะน้ำป่าไหลหลาก ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วมและแผ่นดินถล่ม มักพบบริเวณพื้นที่ต้นน้ำมีความลาดชันค่อนข้างสูงโดยบริเวณที่มีความเสี่ยงเกิดบ่อยและมีความรุนแรง ได้แก่ ตอนบนของลุ่มน้ำแม่น้ำกระบุรี ลุ่มน้ำคลองละอุ่น ในจังหวัดระนอง ลุ่มน้ำคลองตะกั่วป่า และลุ่มน้ำย่อยในจังหวัดพังงา
2) น้ำท่วมขัง มักเกิดบริเวณที่ราบมีความลาดชันน้อย มีพื้นที่ลุ่มน้ำขนาดใหญ่ที่มีที่ราบก่อนไหลออกทะเล และได้รับอิทธิพลจากน้ำทะเลหนุน ได้แก่ ลุ่มน้ำแม่น้ำตรังตั้งแต่ตอนบนในเขตอำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช อำเภอห้วยยอด อำเภอเมือง จังหวัดตรัง ลุ่มน้ำคลองปะเหลียน ในจังหวัดตรัง ลุ่มน้ำคลองมำบัง ในจังหวัดสตูล และอำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา รวมทั้งพื้นที่ศึกษาอยู่ในเส้นทางที่พายุพัดผ่านอีกด้วย