มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Book 1 of รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร โครงการศึกษาผลกระทบและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน
Language: Thai
รายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร ริมแม่น้ำโขง แม่น้ำโขง แม่น้ำโขงสายประธาน โครงการศึกษาผลกระทบและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการพัฒนาไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน
Publisher: มหาวิทยาลัยสารคาม
Published: Jul 1, 2020
โครงการศึกษาผลกระทบและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดย สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) นำองค์ความรู้และข้อะข้อมูลที่ได้จาการศึกษาของโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2561 และองค์ความรู้ใหม่จากภาคประชาชนในการแก้ไขปัญหามาขยายผลเผยแพร่แลกเปลี่ยน และปรับปรุงเพิ่มเติมร่วมกับประชาชน เครือข่าย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่มีแนวโน้มได้รับความเสี่ยง 2) นำร่องกิจกรรมในระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนประชาชนใช้มาตรการลดและบรรเทาผลกระทบมาตรการในการวางแผนแก้ไขปัญหา รวมทั้งมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมในพื้นที่มีแนวโน้มได้รับความเสี่ยง 3) ยกระดับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจและสร้างขีดความสามารถของเครือข่ายชุมชนในพื้นที่มีแนวโน้มได้รับความเสี่ยง ในการจัดการแก้ไขปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงต้านทรัพยากรรรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมของลุ่มน้ำโขง
Description:
โครงการศึกษาผลกระทบและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการไฟฟ้าพลังน้ำในแม่น้ำโขงสายประธาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 โดย สำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) นำองค์ความรู้และข้อะข้อมูลที่ได้จาการศึกษาของโครงการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2561 และองค์ความรู้ใหม่จากภาคประชาชนในการแก้ไขปัญหามาขยายผลเผยแพร่แลกเปลี่ยน และปรับปรุงเพิ่มเติมร่วมกับประชาชน เครือข่าย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่มีแนวโน้มได้รับความเสี่ยง 2) นำร่องกิจกรรมในระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนประชาชนใช้มาตรการลดและบรรเทาผลกระทบมาตรการในการวางแผนแก้ไขปัญหา รวมทั้งมาตรการติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมในพื้นที่มีแนวโน้มได้รับความเสี่ยง 3) ยกระดับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจและสร้างขีดความสามารถของเครือข่ายชุมชนในพื้นที่มีแนวโน้มได้รับความเสี่ยง ในการจัดการแก้ไขปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงต้านทรัพยากรรรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมของลุ่มน้ำโขง